เผยแพร่แล้ว: ธ.ค. 27, 2021
 
   
     
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

 

 
   
 
 
 
    Language
 
      English  
      ภาษาไทย  
 
 
    Information
 
      สำหรับผู้อ่าน  
      สำหรับผู้แต่ง  
      สำหรับบรรณารักษ์  
 
 
    Home ThaiJo
 
   
 
 
 
    Manual
 
      For Author  
      For Reviewer  
 
 
    เว็บไซต์
 
      โรงพยาบาล
    เจริญกรุงประชารักษ
 
      www.ckphosp.go.th  
 
 

 

 
     
 
 
     
     
 

ประสบการณ์ การแก้ปัญหา และแนวทางการพัฒนาการดูแลรักษาผู้ป่วย
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของกลุ่มงานอายุรกรรม โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์

 
     
     
 
ทิวา เกียรติปานอภิกุล
กลุ่มงานอายุรกรรม โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์

บทคัดย่อ

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิค-19)ซึ่งเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตั้งแต่ปลายปี 2019เริ่มต้นการระบาดจากต่างประเทศ ถึงแม้ในช่วงแรกจะมีมาตรการจากภาครัฐเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด แต่ก็ไม่สามารถปิดกั้นการแพร่ระบาดของเชื้อโรคได้ ไม่ว่าจะผ่านทางการเดินทางระหว่างประเทศ หรือทางแนวตะเข็บชายแดน ผลที่ตามมาคือเชื้อไวรัสโคโรนา2019 ปะปนเข้ามาภายในประเทศไทยทำให้เกิดการติดเชื้อเป็นวงกว้างโดยมักจะมีการติดเชื้อในที่ชุมชน หรือโรงงานต่าง ๆ

 
     
     
     
 
   ฉบับ  

    ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (2564): กรกฏาคม - ธันวาคม 2564

 
 
     
     
 
   บทความ  
    บทความฉบับพิเศษ  
 
     
     
     
 

References

1. คณะทำงานด้านการรักษาพยาบาลและการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรมการแพทย์ กระทรวง
สาธารณสุข. แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีผู้ป่วย
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข [อินเทอร์เน็ต]. 2021
[เข้าถึงเมื่อ18 ต.ค. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://covid19.dms.go.th/backend/Content/Content_FIle/
Bandner_(Big)/Attach/25640820144939PM_25640804171629PM_CPG_COVID_v.17_n_
20210804.pdf.
2. Manabe T, Kambayashi D, Akatsu H, Kudo K. Favipiravir for the treatment of patients with Covid-
19: a systematic review and meta-analysis. BMC Infect Dis 2021;21:489.
3.Shinkai M, Tsushima K, Tanaka S, Hagiwara E, Tarumoto N, Kawada I, et al. Efficacy and safety of
favipiravir in moderate Covid-19 pneumonia patients without oxygen therapy: arandomized, phase
III clinical trial. Infect Dis Ther2021; 10: 2489-509.
4. Beigel JH, Tomashek KM, Dodd LE, Mehta AK, Zingman BS, Kalil AC, et al. Remdesivir for the
treatment of Covid-19 - final report. N Engl J Med 2020;383:1813-26.
5. Salama C, Han J, Yau L, Reiss WG, Kramer B, Neidhart JD, et al. Tocilizumab in patients hospitalized
with Covid-19 pneumonia. N Engl J Med 2021;384:20-30.
6. Stone JH, Frigault MJ, Serling-Boyd NJ, Fernandes AD, Harvey L, Foulkes AS, et al. Efficacy of
tocilizumab in patients hospitalized with Covid-19. N Engl J Med 2020;383:2333-44.
7. Guimaraes PO, Quirk D, Furtado RH, Maia LN, Saraiva JF, Antunes MO, et al. Tofacitinib in patients
hospitalized with Covid-19 pneumonia. N Engl J Med 2021;385:406-15.