เผยแพร่แล้ว: มี.ค. 12, 2019
 
   
    คำสำคัญ:
  ภาวะเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์
  น้ำหนักตัวทารกแรกเกิดมากกว่าปกติ
  ภาวะน้ำหนักตัวขึ้นมาก
 
   
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

 

 
   
 
 
 
    Language
 
      English  
      ภาษาไทย  
 
 
    Information
 
      สำหรับผู้อ่าน  
      สำหรับผู้แต่ง  
      สำหรับบรรณารักษ์  
 
 
    Home ThaiJo
 
   
 
 
 
    Manual
 
      For Author  
      For Reviewer  
 
 
    เว็บไซต์
 
      โรงพยาบาล
    เจริญกรุงประชารักษ
 
      www.ckphosp.go.th  
 
 

 

 
     
 
 
     
     
 

ผลกระทบของภาวะเบาหวาน ภาวะอ้วน หรือภาวะน้ำหนักตัวขึ้นมากกว่าปกติของมารดา
กับผลต่อน้ำหนักตัวทารกแรกเกิด และภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์
การศึกษาย้อนหลังในโรงพยาบาลกลาง

 
     
     
 
ฐิติกัญ ปรีชาพานิช
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลกลาง สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร


บทคัดย่อ

บทนำ:  ภาวะเบาหวานหรือภาวะน้ำหนักตัวขึ้นมากเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญในสตรีตั้งครรภ์ที่ทำให้เกิดผลเสียต่อทั้งมารดาและทารกในครรภ์ เช่น ภาวะครรภ์เป็นพิษ ทารกน้ำหนักตัวมาก ทำให้คลอดยาก และมีโอกาสเกิดอันตรายระหว่างการคลอดได้สูงขึ้น  

วัดถุประสงค์:  ศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะเบาหวาน ภาวะอ้วน ภาวะน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นมากในสตรีตั้งครรภ์ที่มีผลต่อน้ำหนักทารกแรกเกิด


วิธีดำเนินการวิจัย:  วิจัยศึกษาย้อนหลังจากเวชระเบียนสตรีตั้งครรภ์จำนวน 577 ราย ที่มาคลอดบุตรที่โรงพยาบาลกลางอายุระหว่าง 18-35 ปี เปรียบเทียบกับน้ำหนักทารกแรกเกิดแยกออกเป็น 4 กลุ่มคือ กลุ่มสตรีตั้งครรภ์ปกติ สตรีตั้งครรภ์มีภาวะอ้วน (obesity) หรือน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นมาก กลุ่มสตรีตั้งครรถ์มีภาวะเบาหวาน (gestational diabetic mellitus) และกลุ่มสตรีตั้งครรภ์ที่มีทั้ง 2 ภาวะ


ผลการวิจัย:  จากข้อมูลสตรีตั้งครรภ์ 577 ราย พบว่าในทั้ง 4 กลุ่มมี อายุมารดา BMI และน้ำหนักตัวที่ขึ้นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ น้ำหนักทารกแรกเกิดเฉลี่ยทั้ง 4 กลุ่ม 


3,027 3,2741 3,210 3,438 กรัมตามลำดับ แตกต่างกันอย่างมีนับสำคัญทางสถิติ (p gif.latex?< 0.01) เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ โดยวิธี logistic regression พบว่า ในสตรีคั้งครรภ์ที่น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น


มากพบภาวะน้ำหนักทารกแรกเกิดมากกว่าปกติได้เป็น 5 เท่าสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเบาหวานจะเกิดภาวะ birth asphyxia ภาวะความดันโลหิตสูง อัตราการผ่าคลอดเพิ่มขึ้น (p gif.latex?< 0.01)


ส่วนภาวะตกเลือดหลังคลอดในตรีตั้งครรภ์ทั้ง 4 กลุ่มไม่แตกต่างกัน


สรุป:  ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้ไน้ำหนังตัวทารกแรกเกิดมากกว่าปกติคือ ภาวะน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นมากในสตรีตั้งครรภ์ส่วนปัจจัยที่ทำให้เกิดความดันโลหิตสูง ภาวะ birth asphyxia และเพิ่มอัตราการผ่าคลอดคือ ภาวะเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์

คำสำคัญ:  ภาวะเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ น้ำหนักตัวทารกแรกเกิดมากกว่าปกติ ภาวะน้ำหนักตัวขึ้นมาก

 
     
     
     
 
   ฉบับ  

    ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 (2016): มกราคม - มิถุนายน 2559

 
 
     
     
 
   บทความ  
    Original Article  
 
     
     
     
 

References

1. Rajesh Rajput, Yogesh Yadav, Smiti Nanda. Prevalence of gestational diabetes & associate risk factors at a tertiary care hospital in Haryana.
India J med Res 2013; 137: 728-733.

2. ธีระ ทองสง. โรคเบาหวานในสตรีตั้งครรภ์.ใน:ธีระ ทองสง,สุชยา ลือวรรณ, บรรณาธิการ. สูติศาสตร์ เรียบเรียง. พิมพ์ครั้งที่ 5.
ปทุมธานี: PB FORBOOK xm6,Tkou. sohk 425-38.

3. Triunfo S, Lanzone A. Impact of overweight and
obesity on obstetric outcomes. Journal of
Endocrinological investigation 2014; 37: 323-9.

4. Lao TT1, Wong KY. Perinatal outcome in large-
for-gestational-age infants. Is it influenced by
gestational impaired glucose tolerance?. J Reprod
Med 2002; 47: 497-502.

5. Casay BM, Lucas MJ. Pregnancy outcomes in
women with gestational diabetes compared with
the general obstetric population. Obstet Gynecol
1997; 90: 869-73.

6. Jensen MD. Obesity. In: Goldman L, Schafer
th
AI, editors. Goldmanûs Cecil Medicine. 24 ed.
Philadelphia, PA: Saunders Elsevier 2011; chap
227.

7. American College of Obstetricians and
Gynecologists. Committee Opinion No.549:
Obesity in pregnancy. Obstet Gynecol 2013; 121:
213-7.

8. Lashen H, Fear K, Sturdee DW. Obesity is
associated with increased risk of first trimester
and recurrent miscarriage: matched case-control
study. Hum Reprod 2004; 19: 1644-6.

9. Baeten JM, Bukusi EA, Lambe M. Pregnancy
complications and outcomes among overweight
and obese nulliparous women. Am J Public Health
2001; 91: 436-40.

10. Cedergren MI. Maternal morbid obesity and the
risk of adverse pregnancy outcome. Obstet
Gynecol. 2004; 103: 219-24.†

11. Cnattingius S, Bergstrom R, Lipworth L, Kramer
MS. Prepregnancy weight and the risk of adverse
pregnancy outcomes. N Engl J Med 1998; 338:
147-52.†

12. Oken E, Taveras EM, Kleinman KP, Rich-Edwards
JW, Gillman MW. Gestational weight gain and
child adiposity at age 3 years. Am J Obstet
Gynecol 2007; 196: 322.e1-8.

13. American College of Obstetricians and
Gynecologists. Fetal macrosomia. ACOG Practice
Bulletin 22. Washington, DC: ACOG; 2000.

14. American College of Obstetricians and
Gynecologists. Committee Opinion No.548:
Weight gain during pregnancy. Obstet Gynecol
2013; 121: 210-2.

15. Crane JM, White J, Murphy P. The effect of
gestational weight gain by body mass index on
maternal and neonatal outcomes. J Obstet
Gynaecol Can 2009; 31: 28-35.

16. Marin J.A., Russu M., Hudita D, Nastasia S.
Diabetes, Obesity and Excessive weight gain and
Pregnancy outcomes. Timisoara Medical Journal
2009; 59: 184-7.

17. Chow S, Shao J, Wang H. Sample Size
Calculations in Clinical Research. 2nd ed.
Chapman & Hall/CRC Biostatistics Series 2008;
p.100.